ตัวอย่างข้อสอบ CFP M1 ที่ทางสมาคมฯ เผยแพร่ เพื่อให้เตรียมความพร้อมก่อนการสอบจริงครับ
BeNZmT
@BeNZmT
โพสต์ดีที่สุดที่ถูกสร้างโดย BeNZmT
-
ตัวอย่างข้อสอบ CFP M1 ที่ทางสมาคมฯ เผยแพร่ เพื่อให้เตรียมความพร้อมก่อนการสอบจริงครับ
-
RE: ทำไมคนถึงพูดว่าข้อสอบจรรยาบรรณ CFP M1 มันยาก ? มีเทคนิคแนะนำก่อนสอบมั้ยครับ ?
@T_Anonymous ข้อสอบจรรยาบรรณของ CFP M1 มี 21 ข้อ จากข้อสอบทั้งหมด 85 ช้อ, ส่วนนี้บังคับผ่าน 70% คือ ต้องทำได้อย่างน้อย 15 ข้อ จาก 21 ข้อ
หลายคนสอบ CFP M1 (ข้อสอบฉบับที่ 1) ได้เกิน 70% (เกิน 60 ข้อ จาก 85ข้อ) แต่ถ้าส่วนของจรรยาบรรณ ได้ไม่เกิน 15 ข้อ (70% ของ 21 ข้อ) ก็ถือว่าสอบไม่ผ่าน CFP ฉบับที่ 1 ดังนั้นจรรยาบรรณจึงเป็นส่วนสำคัญในนึงในการสอบผ่าน/ไม่ผ่าน
แนวทางข้อสอบจรรยาบรรณ นอกจากถามความหมาย/องค์ประกอบ ของจรรยาบรรณทั้ง 7 ข้อแล้ว จะมีหลักเพิ่มเติมอีกว่า
1.ผิดหรือไม่ ?
2.ผิดเรื่องอะไร ? (จรรยาบรรณข้อไหน)
3.ที่ถูกต้องควรทำอย่างไร ?เท่าที่สอบถามผู้เข้าสอบมาพบว่าคนส่วนใหญ่ที่ทำข้อสอบจรรยาบรรณไม่ได้ คือ
(1).แยกไม่ออกว่าจรรยาบรรณบางข้อแตกต่างกันอย่างไร (เช่น ความเป็นกลาง vs ความเป็นธรรม, ความเป็นมืออาชีพ vs ความรู้ความสามารถ)
(2).ไม่แน่ใจว่าพฤติกรรมตามที่โจทย์บอก สามารถทำได้หรือไม่ หรือที่ถูกต้องควรทำอย่างไร
(3).มักจะตีความตามที่เราเข้าใจ(ไปเอง) ไม่ใช่ทางตามที่มาตรฐานการปฏิบัติงานสำหรับนักวางแผนการเงิน แนะนำ
(4).ไม่มีทริคในการจำ หรือแยกข้อแตกต่าง
ฯลฯผมมีคำแนะนำแต่ละประเด็นดังนี้ครับ
ข้อ (2).ไม่แน่ใจว่าถูกหรือไม่ฯ และ ข้อ (3). มักจะตีความตามที่เราเข้าใจฯ
-แนะนำให้อ่านเล่มหนังสือจรรยาบรรณ และจำเคสตัวอย่างไว้เยอะ ๆ และจำด้วยว่าพฤติกรรมแบบนี้ในหนังสือตีความว่าเข้าข่ายทำถูก/ทำผิด ในจรรยาบรรณข้อไหน เพราะเคสที่นำไปออกข้อสอบ ก็มักจะคล้ายๆตัวอย่างในหนังสือ อาจจะต่างกันตรงแค่ตัวละคร จำนวนเงิน ฯลฯ นิดหน่อย แต่พฤติกรรมก็คล้ายๆกัน
-ให้มองเหมือนว่าเรากำลังศึกษาคดีความเก่าๆ ที่ศาลได้ตัดสินแล้วว่าคดีความนี้ 1.ผิดหรือไม่? 2.ผิดเรื่องอะไร? 3.ที่ถูกต้องควรทำอย่างไร? เพราะพฤติกรรมเหล่านี้ ได้ถูกตีความไว้หมดแล้ว ถ้าเราจำพฤติกรรมที่ถูกตัดสินมาแล้วได้เยอะๆ เราก็จะทำข้อสอบจรรยาบรรณได้แบบชิลๆข้อ (1).แยกไม่ออกฯ และ ข้อ(4).ไม่มีทริคในการจำฯ
-เทคนิคในการจำว่าจรรยาบรรณ 7 ข้อ มีอะไรบ้าง = ซื่อ-กลาง-รู้-ธรรม-ลับ-มือ-ใส่ใจ
-โดยส่วนตัว และเวลาที่ผมติวผู้เรียน จะมี Keyword ให้จำคร่าวๆ เพื่อเน้นไปสอบ (ย้ำ....แค่เน้นไปสอบ !) ประมาณนี้ครับ
1.ความซื่อสัตย์...ให้จำว่า
-กาย : ไม่โกง, ไม่ทุจริต
-วาจา : ไม่พูดเกินจริง
-สินทรัพย์ : เก็บ-พิทักษ์-บันทึก-แยก
-ฯลฯ2.ความเป็นกลาง...ให้จำว่า
-อิสระ
-มีหลักในการให้บริการ
-ไม่ขัดแย้งทางผลประโยชน์
-ฯลฯ3.ความรู้ความสามารถ...ให้จำว่า
-หมั่นพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลา
-ไม่ถนัด....ส่งต่อ
-ฯลฯ4.ความเป็นธรรม...ให้จำว่า
-ไม่เลือกปฏิบัติ
-"เปิดเผย" เรื่องต่างๆ (เป็นลายลักษณ์อักษร)
ฯลฯ5.การรักษาความลับ...ให้จำว่า
-ลูกค้า
-นายจ้าง
-หุ้นส่วน
-ฯลฯ6.ความเป็นมืออาชีพ...ให้จำว่า
-มีเกียรติ มีศักศรี
-ทำตามกฎหมาย / กฎเกณฑ์
-มี License
-ฯลฯ7.ความใส่ใจระมัดระวัง...ให้จำว่า
-มักจะมีคำว่า "เหมาะสม" "รอบคอบ"
-ฯลฯทั้งนี้ ทริคในการจำ Keyword เหล่านี้ เป็นแค่ส่วนหนึ่งในแต่ละข้อจรรยาบรรณที่มักจะพบบ่อยในข้อสอบเท่านั้น ไม่ใด้ครอบคลุมเนื้อความทั้งหมดของจรรยาบรรณในแต่ละข้อ ผู้เข้าสอบแต่ละท่าควรเข้าใจเนื้อความและศึกษาเคสตัวอย่างของจรรยาบรรณแต่ละข้อด้วย แนะฝึกทำโจทย์เยอะๆครับ
หวังว่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้เข้าสอบทุกท่าน ไม่มากก็น้อย และขอให้ผู้ที่จะสอบและอ่านมาถึงตรงนี้ สอบผ่านในรอบนี้ทุกท่านนะครับ
-
"Link ยังชีพ" สำหรับว่าที่นักวางแผนการเงิน CFP® ทุกท่านครับ
สำหรับผู้ที่ก้าวเข้าสู่เส้นทาง CFP คุณสมบัติพื้นฐานสำหรับนักวางแผนการเงิน CFP หรือที่เราเรียกกันสั้นๆว่า "4 E" คือ
-
Education (การศึกษา) : นักวางแผนการเงิน CFP และที่ปรึกษาการเงิน AFPT จะต้องมีความรู้ด้านการวางแผนการเงินและด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งในทางทฤษฎีและปฏิบัติตามมาตรฐานที่สมาคมฯ กำหนด โดยต้องเข้ารับการอบรมพื้นฐานความรู้ 6 วิชา กับสถาบันอบรมที่ได้รับอนุญาตของสมาคมฯ
-
Examination (การสอบ) : นักวางแผนการเงิน CFP และที่ปรึกษาการเงิน AFPT จะต้องผ่านการสอบหลักสูตรการวางแผนการเงิน CFP เพื่อประเมินความสามารถในการนำความรู้ และทักษะจากการอบรมไปประยุกต์ใช้สำหรับการวางแผนการเงิน
-
Experience (ประสบการณ์การทำงาน) : สมาคมฯ กำหนดให้นักวางแผนการเงิน CFP จะต้องมีประสบการณ์การทำงานที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการให้บริการวางแผนการเงินแก่ลูกค้า เพื่อแสดงให้เห็นว่าเป็นผู้มีความรู้ และความสามารถในเชิงปฏิบัติ
-
Ethics (จรรยาบรรณ) : นักวางแผนการเงิน CFP ที่ปรึกษาการเงิน AFPT และผู้สมัครขอขึ้นทะเบียนคุณวุฒิวิชาชีพนักวางแผนการเงิน CFP ที่ปรึกษาการเงิน AFPT (“ผู้สมัคร”) จะต้องปฏิบัติตามประมวลจรรยาบรรณและความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพวางแผนการเงินเพื่อให้ลูกค้าได้รับประโยชน์สูงสุด รวมทั้งได้รับความเชื่อมั่นและความไว้วางใจจากลูกค้า
สำหรับผู้ที่ต้องการรายละเอียดในเชิงลึกของแต่ละเรื่อง ผมได้นำ Link ของสมาคมนักวางแผนการเงินไทย ที่ชี้แจงไว้มาฝากครับกันครับ หวังว่าจะเป็นประโยชน์สำหรับว่าที่นักวางแผนการเงินทุกท่าน ไม่มากก็น้อยครับ
-
-
RE: ราคาหุ้น กองทุนรวม
ราคาหุ้นไทย
https://www.set.or.th/th/home
https://www.settrade.com/th/home
http://siamchart.com/stock/#google_vignette
ฯลฯราคาหุ้นทั่วโลก
https://th.investing.com/indices/thailand-set
https://th.tradingview.com/chart/
ฯลฯNAV กองทุนรวมในไทย
https://www.wealthmagik.com
https://www.settrade.com/th/mutualfund/overview
https://www.finnomena.com/fund/filter
ฯลฯประมาณนี้ครับ
-
40(1)-(8), ค่าใช้จ่าย, ค่าลดหย่อน ฯลฯ แบบละเอียด จากเอกสารของกรมสรรพากร
40(1)-(8), ค่าใช้จ่าย, ค่าลดหย่อน ฯลฯ แบบละเอียด จากเอกสารของกรมสรรพากร
https://www.rd.go.th/fileadmin/tax_pdf/pit/2566/Ins90_131166.pdf
-
9 เทคนิค การทำข้อสอบ CFP®
9 เทคนิค การทำข้อสอบ CFP
-
ทำส่วนของจรรยาบรรณก่อน : ทำคะแนนได้เยอะแค่ไหน ถ้าตกจรรยาบรรณ ก็คือ ตก (สำหรับข้อสอบฉบับที่ 1 และ 2)
-
วงคำว่า "ไม่" ทั้งหลาย : หลายข้อเราทำได้ แต่ตอนตอบลืมไปว่าโจทย์ให้ถามว่า ข้อใด "ไม่ใช่"
-
สอบให้ผ่าน ไม่จำเป็นต้องได้เต็ม : ข้อไหนไม่มั่นใจ หรือใช้เวลาทำเกิน 2-3 นาที ให้ติ๊กเอาไว้ ไปทำข้ออื่นก่อน แล้วค่อยกลับมาทำทีหลัง
-
ปรับทศนิยมเครื่องคิดเลขเป็น 4 ตำแหน่ง : ข้อคำนวณส่วนใหญ่ คำตอบจะเป็นทศนิยม 4 ตำแหน่ง แต่ถ้าข้อไหนคำตอบเป็นทศนิยม 2 ตำแหน่ง เราปัดเศษขึ้นลงเองได้
-
กด "STO" ไว้ทุกครั้ง เพื่อบันทึกคำตอบ : สำหรับข้อคำนวณที่เป็นข้อสอบแบบชุดคำถาม หรือ แบบกรณีศึกษา ที่คำตอบของข้อแรกอาจต้องนำไปคำนวณต่อในข้อถัดไป
-
ควรทำเสร็จก่อนเวลาอย่างน้อย 10 นาที : เพื่อตรวจเช็คความเรียบร้อยของคำตอบ เพราะหลายคนที่สอบไม่ผ่าน ส่วนหนึ่งมาจากทำข้อสอบไม่ครบทุกข้อ ข้อไหนตอบไม่ได้ อย่างน้อยเดาไปอย่างมีหลักการก็ยังดี
-
อะไรที่ไม่ใช่ ให้ตัดทิ้ง : เนื้อหาที่ใช้ออกสอบเอามาจากหนังสือ องค์ความรู้ไหนที่ไม่มีในหนังสืออาจเป็นตัวเลือกหลอก ดังนั้น ต้องแบ่งองค์ความรู้แต่ละหัวข้อ มีองค์ประกอบอะไรบ้าง แบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง และควรจำองค์ความรู้นั้น ๆ หลังอ่านโจทย์เสร็จ เพื่อไม่ให้โดนตัวเลือกหลอก
-
คำตอบในเชิงสุดโต่ง มักจะเป็นตัวเลือกที่ผิด :"เท่านั้น", "ไม่จำเป็น", "ยกเลิกทันที" ฯลฯ คำพูดเหล่านี้ในตัวเลือกมักจะเป็นคำตอบที่ผิด กรณีที่เราไม่มั่นใจในข้อนั้น อาจลองตัดตัวเลือกเหล่านี้ทิ้งไป
-
ข้อสอบจรรยาบรรณ อย่าตีความเอง : คนส่วนใหญ่ที่ตกจรรยาบรรณ เพราะตีความเองแล้วผิด แนะนำให้จำเคสตัวอย่างเยอะ ๆ แล้วเทียบเคียงกับเคสตัวอย่างที่รู้คำตอบที่ถูกต้องอยู่แล้ว
หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เกร็ดเล็ก ๆ เหล่านี้ จะช่วยทำให้ทุกท่านที่อ่าน สอบผ่าน CFP รอบนี้ได้นะครับ !!
-
โพสต์ล่าสุดที่เขียนโดย BeNZmT
-
RE: ทำไมคนถึงพูดว่าข้อสอบจรรยาบรรณ CFP M1 มันยาก ? มีเทคนิคแนะนำก่อนสอบมั้ยครับ ?
@T_Anonymous ข้อสอบจรรยาบรรณของ CFP M1 มี 21 ข้อ จากข้อสอบทั้งหมด 85 ช้อ, ส่วนนี้บังคับผ่าน 70% คือ ต้องทำได้อย่างน้อย 15 ข้อ จาก 21 ข้อ
หลายคนสอบ CFP M1 (ข้อสอบฉบับที่ 1) ได้เกิน 70% (เกิน 60 ข้อ จาก 85ข้อ) แต่ถ้าส่วนของจรรยาบรรณ ได้ไม่เกิน 15 ข้อ (70% ของ 21 ข้อ) ก็ถือว่าสอบไม่ผ่าน CFP ฉบับที่ 1 ดังนั้นจรรยาบรรณจึงเป็นส่วนสำคัญในนึงในการสอบผ่าน/ไม่ผ่าน
แนวทางข้อสอบจรรยาบรรณ นอกจากถามความหมาย/องค์ประกอบ ของจรรยาบรรณทั้ง 7 ข้อแล้ว จะมีหลักเพิ่มเติมอีกว่า
1.ผิดหรือไม่ ?
2.ผิดเรื่องอะไร ? (จรรยาบรรณข้อไหน)
3.ที่ถูกต้องควรทำอย่างไร ?เท่าที่สอบถามผู้เข้าสอบมาพบว่าคนส่วนใหญ่ที่ทำข้อสอบจรรยาบรรณไม่ได้ คือ
(1).แยกไม่ออกว่าจรรยาบรรณบางข้อแตกต่างกันอย่างไร (เช่น ความเป็นกลาง vs ความเป็นธรรม, ความเป็นมืออาชีพ vs ความรู้ความสามารถ)
(2).ไม่แน่ใจว่าพฤติกรรมตามที่โจทย์บอก สามารถทำได้หรือไม่ หรือที่ถูกต้องควรทำอย่างไร
(3).มักจะตีความตามที่เราเข้าใจ(ไปเอง) ไม่ใช่ทางตามที่มาตรฐานการปฏิบัติงานสำหรับนักวางแผนการเงิน แนะนำ
(4).ไม่มีทริคในการจำ หรือแยกข้อแตกต่าง
ฯลฯผมมีคำแนะนำแต่ละประเด็นดังนี้ครับ
ข้อ (2).ไม่แน่ใจว่าถูกหรือไม่ฯ และ ข้อ (3). มักจะตีความตามที่เราเข้าใจฯ
-แนะนำให้อ่านเล่มหนังสือจรรยาบรรณ และจำเคสตัวอย่างไว้เยอะ ๆ และจำด้วยว่าพฤติกรรมแบบนี้ในหนังสือตีความว่าเข้าข่ายทำถูก/ทำผิด ในจรรยาบรรณข้อไหน เพราะเคสที่นำไปออกข้อสอบ ก็มักจะคล้ายๆตัวอย่างในหนังสือ อาจจะต่างกันตรงแค่ตัวละคร จำนวนเงิน ฯลฯ นิดหน่อย แต่พฤติกรรมก็คล้ายๆกัน
-ให้มองเหมือนว่าเรากำลังศึกษาคดีความเก่าๆ ที่ศาลได้ตัดสินแล้วว่าคดีความนี้ 1.ผิดหรือไม่? 2.ผิดเรื่องอะไร? 3.ที่ถูกต้องควรทำอย่างไร? เพราะพฤติกรรมเหล่านี้ ได้ถูกตีความไว้หมดแล้ว ถ้าเราจำพฤติกรรมที่ถูกตัดสินมาแล้วได้เยอะๆ เราก็จะทำข้อสอบจรรยาบรรณได้แบบชิลๆข้อ (1).แยกไม่ออกฯ และ ข้อ(4).ไม่มีทริคในการจำฯ
-เทคนิคในการจำว่าจรรยาบรรณ 7 ข้อ มีอะไรบ้าง = ซื่อ-กลาง-รู้-ธรรม-ลับ-มือ-ใส่ใจ
-โดยส่วนตัว และเวลาที่ผมติวผู้เรียน จะมี Keyword ให้จำคร่าวๆ เพื่อเน้นไปสอบ (ย้ำ....แค่เน้นไปสอบ !) ประมาณนี้ครับ
1.ความซื่อสัตย์...ให้จำว่า
-กาย : ไม่โกง, ไม่ทุจริต
-วาจา : ไม่พูดเกินจริง
-สินทรัพย์ : เก็บ-พิทักษ์-บันทึก-แยก
-ฯลฯ2.ความเป็นกลาง...ให้จำว่า
-อิสระ
-มีหลักในการให้บริการ
-ไม่ขัดแย้งทางผลประโยชน์
-ฯลฯ3.ความรู้ความสามารถ...ให้จำว่า
-หมั่นพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลา
-ไม่ถนัด....ส่งต่อ
-ฯลฯ4.ความเป็นธรรม...ให้จำว่า
-ไม่เลือกปฏิบัติ
-"เปิดเผย" เรื่องต่างๆ (เป็นลายลักษณ์อักษร)
ฯลฯ5.การรักษาความลับ...ให้จำว่า
-ลูกค้า
-นายจ้าง
-หุ้นส่วน
-ฯลฯ6.ความเป็นมืออาชีพ...ให้จำว่า
-มีเกียรติ มีศักศรี
-ทำตามกฎหมาย / กฎเกณฑ์
-มี License
-ฯลฯ7.ความใส่ใจระมัดระวัง...ให้จำว่า
-มักจะมีคำว่า "เหมาะสม" "รอบคอบ"
-ฯลฯทั้งนี้ ทริคในการจำ Keyword เหล่านี้ เป็นแค่ส่วนหนึ่งในแต่ละข้อจรรยาบรรณที่มักจะพบบ่อยในข้อสอบเท่านั้น ไม่ใด้ครอบคลุมเนื้อความทั้งหมดของจรรยาบรรณในแต่ละข้อ ผู้เข้าสอบแต่ละท่าควรเข้าใจเนื้อความและศึกษาเคสตัวอย่างของจรรยาบรรณแต่ละข้อด้วย แนะฝึกทำโจทย์เยอะๆครับ
หวังว่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้เข้าสอบทุกท่าน ไม่มากก็น้อย และขอให้ผู้ที่จะสอบและอ่านมาถึงตรงนี้ สอบผ่านในรอบนี้ทุกท่านนะครับ
-
"Link ยังชีพ" สำหรับว่าที่นักวางแผนการเงิน CFP® ทุกท่านครับ
สำหรับผู้ที่ก้าวเข้าสู่เส้นทาง CFP คุณสมบัติพื้นฐานสำหรับนักวางแผนการเงิน CFP หรือที่เราเรียกกันสั้นๆว่า "4 E" คือ
-
Education (การศึกษา) : นักวางแผนการเงิน CFP และที่ปรึกษาการเงิน AFPT จะต้องมีความรู้ด้านการวางแผนการเงินและด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งในทางทฤษฎีและปฏิบัติตามมาตรฐานที่สมาคมฯ กำหนด โดยต้องเข้ารับการอบรมพื้นฐานความรู้ 6 วิชา กับสถาบันอบรมที่ได้รับอนุญาตของสมาคมฯ
-
Examination (การสอบ) : นักวางแผนการเงิน CFP และที่ปรึกษาการเงิน AFPT จะต้องผ่านการสอบหลักสูตรการวางแผนการเงิน CFP เพื่อประเมินความสามารถในการนำความรู้ และทักษะจากการอบรมไปประยุกต์ใช้สำหรับการวางแผนการเงิน
-
Experience (ประสบการณ์การทำงาน) : สมาคมฯ กำหนดให้นักวางแผนการเงิน CFP จะต้องมีประสบการณ์การทำงานที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการให้บริการวางแผนการเงินแก่ลูกค้า เพื่อแสดงให้เห็นว่าเป็นผู้มีความรู้ และความสามารถในเชิงปฏิบัติ
-
Ethics (จรรยาบรรณ) : นักวางแผนการเงิน CFP ที่ปรึกษาการเงิน AFPT และผู้สมัครขอขึ้นทะเบียนคุณวุฒิวิชาชีพนักวางแผนการเงิน CFP ที่ปรึกษาการเงิน AFPT (“ผู้สมัคร”) จะต้องปฏิบัติตามประมวลจรรยาบรรณและความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพวางแผนการเงินเพื่อให้ลูกค้าได้รับประโยชน์สูงสุด รวมทั้งได้รับความเชื่อมั่นและความไว้วางใจจากลูกค้า
สำหรับผู้ที่ต้องการรายละเอียดในเชิงลึกของแต่ละเรื่อง ผมได้นำ Link ของสมาคมนักวางแผนการเงินไทย ที่ชี้แจงไว้มาฝากครับกันครับ หวังว่าจะเป็นประโยชน์สำหรับว่าที่นักวางแผนการเงินทุกท่าน ไม่มากก็น้อยครับ
-
-
9 เทคนิค การทำข้อสอบ CFP®
9 เทคนิค การทำข้อสอบ CFP
-
ทำส่วนของจรรยาบรรณก่อน : ทำคะแนนได้เยอะแค่ไหน ถ้าตกจรรยาบรรณ ก็คือ ตก (สำหรับข้อสอบฉบับที่ 1 และ 2)
-
วงคำว่า "ไม่" ทั้งหลาย : หลายข้อเราทำได้ แต่ตอนตอบลืมไปว่าโจทย์ให้ถามว่า ข้อใด "ไม่ใช่"
-
สอบให้ผ่าน ไม่จำเป็นต้องได้เต็ม : ข้อไหนไม่มั่นใจ หรือใช้เวลาทำเกิน 2-3 นาที ให้ติ๊กเอาไว้ ไปทำข้ออื่นก่อน แล้วค่อยกลับมาทำทีหลัง
-
ปรับทศนิยมเครื่องคิดเลขเป็น 4 ตำแหน่ง : ข้อคำนวณส่วนใหญ่ คำตอบจะเป็นทศนิยม 4 ตำแหน่ง แต่ถ้าข้อไหนคำตอบเป็นทศนิยม 2 ตำแหน่ง เราปัดเศษขึ้นลงเองได้
-
กด "STO" ไว้ทุกครั้ง เพื่อบันทึกคำตอบ : สำหรับข้อคำนวณที่เป็นข้อสอบแบบชุดคำถาม หรือ แบบกรณีศึกษา ที่คำตอบของข้อแรกอาจต้องนำไปคำนวณต่อในข้อถัดไป
-
ควรทำเสร็จก่อนเวลาอย่างน้อย 10 นาที : เพื่อตรวจเช็คความเรียบร้อยของคำตอบ เพราะหลายคนที่สอบไม่ผ่าน ส่วนหนึ่งมาจากทำข้อสอบไม่ครบทุกข้อ ข้อไหนตอบไม่ได้ อย่างน้อยเดาไปอย่างมีหลักการก็ยังดี
-
อะไรที่ไม่ใช่ ให้ตัดทิ้ง : เนื้อหาที่ใช้ออกสอบเอามาจากหนังสือ องค์ความรู้ไหนที่ไม่มีในหนังสืออาจเป็นตัวเลือกหลอก ดังนั้น ต้องแบ่งองค์ความรู้แต่ละหัวข้อ มีองค์ประกอบอะไรบ้าง แบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง และควรจำองค์ความรู้นั้น ๆ หลังอ่านโจทย์เสร็จ เพื่อไม่ให้โดนตัวเลือกหลอก
-
คำตอบในเชิงสุดโต่ง มักจะเป็นตัวเลือกที่ผิด :"เท่านั้น", "ไม่จำเป็น", "ยกเลิกทันที" ฯลฯ คำพูดเหล่านี้ในตัวเลือกมักจะเป็นคำตอบที่ผิด กรณีที่เราไม่มั่นใจในข้อนั้น อาจลองตัดตัวเลือกเหล่านี้ทิ้งไป
-
ข้อสอบจรรยาบรรณ อย่าตีความเอง : คนส่วนใหญ่ที่ตกจรรยาบรรณ เพราะตีความเองแล้วผิด แนะนำให้จำเคสตัวอย่างเยอะ ๆ แล้วเทียบเคียงกับเคสตัวอย่างที่รู้คำตอบที่ถูกต้องอยู่แล้ว
หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เกร็ดเล็ก ๆ เหล่านี้ จะช่วยทำให้ทุกท่านที่อ่าน สอบผ่าน CFP รอบนี้ได้นะครับ !!
-
-
RE: ราคาหุ้น กองทุนรวม
ราคาหุ้นไทย
https://www.set.or.th/th/home
https://www.settrade.com/th/home
http://siamchart.com/stock/#google_vignette
ฯลฯราคาหุ้นทั่วโลก
https://th.investing.com/indices/thailand-set
https://th.tradingview.com/chart/
ฯลฯNAV กองทุนรวมในไทย
https://www.wealthmagik.com
https://www.settrade.com/th/mutualfund/overview
https://www.finnomena.com/fund/filter
ฯลฯประมาณนี้ครับ
-
40(1)-(8), ค่าใช้จ่าย, ค่าลดหย่อน ฯลฯ แบบละเอียด จากเอกสารของกรมสรรพากร
40(1)-(8), ค่าใช้จ่าย, ค่าลดหย่อน ฯลฯ แบบละเอียด จากเอกสารของกรมสรรพากร
https://www.rd.go.th/fileadmin/tax_pdf/pit/2566/Ins90_131166.pdf
-
ตัวอย่างข้อสอบ CFP M1 ที่ทางสมาคมฯ เผยแพร่ เพื่อให้เตรียมความพร้อมก่อนการสอบจริงครับ
ตัวอย่างข้อสอบ CFP M1 ที่ทางสมาคมฯ เผยแพร่ เพื่อให้เตรียมความพร้อมก่อนการสอบจริงครับ
-
AFPT ดีต่อตัวแทนประกันอย่างไรครับ จำเป็นต้องมีด้วย ?
AFPT ดีต่อตัวแทนประกันอย่างไรครับ จำเป็นต้องมีด้วย ?